กล่องข้อความ: 		7-50100-001-104  		  ชื่อพื้นเมือง	:  แต้ว  ชื่อวิทยาศาสตร์	:  Cratoxylum formosum (Jack) Dyer ssp. pruniflorum Gogel.  ชื่อวงศ์	:  CLUSIACEAE  ชื่อสามัญ	:  PruniFlorum  ประโยชน์	:  ไม้ดอกประดับดอกสีชมพู

บริเวณที่พบ : บ้านพัก ผอ.
ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ดอกประดับดอกสีชมพู
ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้กลางแจ้งต้องการความชื้นสูงกระจายอยู่ทางตอนใต้ของจีน พม่า ในประเทศไทยขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
ในภาคเหนือภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ต้น : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เมื่อต้นยังเล็กจะมีหนามแต่ไม่แหลม ลำต้นสูงประมาณ6 – 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้มเป็นสะเก็ด
ใบ : ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน ก้านใบมีขนยาประมาณ 1 เซนติเมตร ลักษณะของใบขอบ ขนาน ปลายใบและโคนแหลม
หรือมนเล็กน้อย เนื้อใบบาง เส้นใบชัด
ผล : เป็นรูปไข่ ตรงปลายดอกมีก้านเกสรตัวเมีย 3 แฉก เมื่อผลแก่จัด จะแตกตามยาว 3 แฉกยาวประมาณ 2 เซนติเมตร
เมล็ด : มีขนาดเล็ก รูปคล้ายข้าวสาร เมล็ดมีปีก
การขายายพันธุ์ : การเพาะเมล็ด การตอน และการทาบกิ่ง
ประโยชน์ : เนื้อไม้ทำเสา ต้นทำเครื่องมือกสิกรรม ทำฟืน ถ่าน เปลือก ใช้ย้อมผ้า รากผสมกับหัวแห้วหมูและรากปลาไหล
ข้อมูลจากภูมิปัญญาไทย ใบอ่อนของต้นรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว

ลักษณะวิสัย
ลำต้น

กลับหน้าหลัก
ใบ
ดอก
ดอก

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้   แต้ว     รหัสพรรณไม้   7-50100-001-104